วัดไร่ขิง
วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ พื้นที่แต่ก่อนเป็นไร่ขิงของชาวจีน เมื่อวัดเกิดขึ้นจึงเรียกชื่อวัดตามกลุ่มชุมชนว่า "วัดไร่ขิง" ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิงติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
สถานการณ์ชายไทย
ชายไทยทำไมต้องบวช และทำไมต้องบวชนานถึง ๓ เดือน ในช่วงเข้าพรรษา? บางคนบวช ๓ เดือนไม่ได้ อยากบวช ๑ เดือน อานิสงส์ต่างกันไหม?
พม.ดร.สุธรรม สุรตโน และพม.ดร.ชัชวาล โอภาโส ลงพื้นที่เยี่ยมตามศูนย์อบรมต่างๆ ในจังหวัดศรีสะเกษ
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
เส้นทางจอมปราชญ์ (๓)
ความรักเสมอด้วยตนไม่มี ทรัพย์เสมอด้วยข้าวเปลือกไม่มี แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี ฝนเท่านั้นเป็นสระอันยอดเยี่ยม
ขอเรียนเชิญร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุก เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ต้อนรับเดือนกันยายนเดือนแห่งการสร้างบุญความดี และร่วมใจน้อมถวายบุญนี้ แด่มหาปูชะนียาจารย์ ด้วยการให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผู้ใจบุญทุกท่านสร้างบุญให้ต่อเนื่อง ร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุด เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๓
หมู่สัตว์ที่มาเกิดแล้วจำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือบุญและบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไป อนึ่ง บุญและบาปนั้นย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไปฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก ด้วยว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
เห็นสมณะ
การเห็นสมณะของผู้มีจิตเลื่อมใสนั้น อาจแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ...